สัมมนาไฮบริดเนื่องในวาระ “วันตรวจสอบข่าวลวงโลก” 2 เม.ย.64

Cofact.org

สัมมนาไฮบริดเนื่องในวาระ “วันตรวจสอบข่าวลวงโลก”

(5 Fact-Checking Day 2021)

“ความท้าทายในการตรวจสอบข้อเท็จจริงร่วมกัน”

วันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564  

 เวลา 9.00 น. – 17.00 น.

ร่วมรับชมการถ่ายทอดสดผ่านเพจ @ThaiPBSFan @CofactThailand

ช่วงเช้า
9.00 – 9.30 น.กล่าวเปิดงาน โดย ตัวแทนองค์กรร่วมจัดดร.นพ.ไพโรจน์  เสาน่วม ผู้ช่วยผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รศ.ดร.ปรีดา อัครจันทโชติ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคุณจีรพงษ์ ประเสริฐพลกรัง  เลขาธิการสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยคุณเฟดเดอริค ชปอร์ หัวหน้าสำนักงานประเทศไทยและพม่า มูลนิธิฟรีดริช เนามัน (FNF)
9.30–10.30 น.ปาฐกถาเรื่อง “การตรวจสอบข่าวลวงในภาวะวิกฤติรอบโลก” โดย  Baybars Orsek  ผู้อำนวยการเครือข่ายองค์กรตรวจสอบข่าวสากล Director of International Fact-Checking Network (IFCN)
10.30–11.30 น.การเสวนา “โอกาสและอุปสรรค การตรวจสอบข้อเท็จจริงในประเทศไทย” โดยคุณสุภิญญา กลางณรงค์ ผู้ร่วมก่อตั้งภาคีโคแฟค COFACT Thailandคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ ผู้จัดการ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย บมจ.อสมทคุณณัฐกร ปลอดดี บรรณาธิการ Fact-Check สำนักข่าวเอเอฟพี ประจำประเทศไทยคุณระวี ตะวันธรงค์ นายกสมาคมผู้ผลิตข่าวออนไลน์ (SONP)คุณสันติภาพ เพิ่มมงคลทรัพย์ รองผู้อำนวยการ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทยดำเนินการเสวนา โดย คุณสายใจ เลี้ยงพันธุ์สกุล  ผู้อำนวยการองค์กร Phandeeyar
11.30 – 12.00 น.แถลงข่าว “ประกาศเจตนารมณ์ความร่วมมือของภาคประชาสังคมในปีแห่งการรณรงค์ตรวจสอบข่าวลวง”  จาก 2 เมษายน พ.ศ 2564  ถึง 2 เมษายน พ.ศ.2565
รับประทานอาหารกลางวัน



ช่วงบ่าย
13.00 –13.15 น.

13.15 – 14.30 น. 
กล่าวเปิดงานช่วงบ่าย โดย  รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว รองคณบดีฝ่ายวิชาการ                  คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นำเสนอข้อค้นพบเชิงวิชาการในประเด็นข่าวลือข่าวลวงในโลกออนไลน์  โดย ดร.อิสระ อนันตวราศิลป์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ที่ปรึกษาโครงการวิจัย Wisesightsดร.จิรเวทย์ รักชาติ  คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา คณะวิทยาการสื่อสาร (วสส.) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ม.อ.ปัตตานี) ที่ปรึกษาโครงการวิจัย Deep South COFACTดำเนินเสวนา โดย ดร.เจษฎา ศาลาทอง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.30 – 15.30 น.Panel 3บทเรียนจากชุมชนโคแฟคในประเด็นการตรวจสอบข่าวลวงคุณมะรูฟ เจะบือราเฮง ผู้อำนวยการ ดิจิทัลเพื่อสันติภาพและ โคแฟคชายแดนใต้ (Deep South COFACT)คุณกมล หอมกลิ่น ผู้ประสานงาน อีสานโคแฟค (Esan COFACT)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร เรืองนภากุล เครือข่ายผู้บริโภคสื่อภาคเหนือรศ.ดร.นันทิยา ดวงภุมเมศ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลดำเนินเสวนา โดย ผศ.ดร.เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ ที่ปรึกษาโคแฟคประเทศไทย 
15.30 – 16.30 น.Panel 4บทเรียนจากแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ (รอยืนยัน) Facebook, Google, Twitter
16.30 – 17.00 น.  กล่าวปิดงาน ‘จากความจริงสู่สันติภาพ’ โดยพระมหานภันต์ สนฺติภทฺโท ประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันการจัดการวิถีพุทธเพื่อสุขและสันติ (สกพ.) คุณธีรดา ศุภะพงษ์  ผู้แทนในประเทศไทย Centre for Humanitarian Dialogue (HD) 
          รณรงค์ออนไลน์ เราทุกคนต้องเป็นผู้ตรวจสอบข้อเท็จจริง  ‘Everyone is a fact-checker.’
21.00 – 23.00 น. คลับเฮาส์ (Clubhouse) เก็บตกประเด็น ‘จากเอพริลฟูลถึงวันตรวจสอบข่าวลวงโลก’ นำโดย ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย บมจ.อสมท 

 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม พลินี เสริมสินสิริ (แตงโม) 095-169-5328