cofact

คลิปเสียงผู้ใช้ TikTok วิจารณ์พรรคเพื่อไทย ถูกนำไปอ้างเท็จว่าเป็นเสียง “จาตุรนต์ ฉายแสง”

คลิปเสียงของผู้ใช้ TikTok ที่วิจารณ์พรรคเพื่อไทยอย่างรุนแรง ถูกนำไปตัดต่อและให้ข้อมูลเท็จว่าเป็นเสียงของนายจาตุรนต์ ฉายแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย

ข้อเท็จจริงเบื้องหลังภาพตำรวจจับกุม “อานนท์ นำภา” เป็นภาพเก่าที่แสดงอารยะขัดขืน

ภาพเหตุการณ์ที่นายอานนท์ นำภา ถูกตำรวจควบคุมตัวเมื่อเดือนสิงหาคม 2563 ถูกนำมาบิดเบือนว่าเป็นภาพปัจจุบัน และให้ข้อมูลผิดไปจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง

แจ้งเตือนภัยการโจมตีทางไซเบอร์ ถูกนำไปสร้างความเกลียดชังคนกัมพูชา

รายงานแจ้งเตือนการโจมตีทางไซเบอร์ที่เผยแพร่โดยศูนย์ประสานงานรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์ด้านโทรคมนาคม (TTC-CERT) ถูกนำไปเติมแต่งเนื้อหาและสอดแทรกความคิดเห็นเพื่อสร้างความเกลียดชังคนกัมพูชา

14 ล้านเสียงเลือกพรรคก้าวไกล ไม่ใช่ “เสียงส่วนใหญ่” ของประชาชน?

โคแฟคตรวจสอบเนื้อหาในโซเชียลมีเดียที่ตีความผลการเลือกตั้ง 14 พ.ค. 2566 ในลักษณะที่อาจสร้างความเข้าใจผิดและนำไปสู่การไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง

พรรคเป็นธรรม ในสมรภูมิวาทกรรม “แบ่งแยกดินแดน”

โคแฟคตรวจสอบข้อความโจมตีพรรคเป็นธรรม ซึ่งเป็นพรรคที่ร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรคก้าวไกลว่า “สนับสนุนการแบ่งแยกดินแดน” ซึ่งเผยแพร่ในโซเชียลมีเดียทั้งก่อนและหลังการเลือกตั้ง 14 พ.ค.2566

ข้อความทางไลน์อ้างสภาสูงสหรัฐฯ ผ่านสาระสำคัญร่างข้อมติแทรกแซงกิจการการเมืองไทยเป็นข้อมูลคลาดเคลื่อน งดแชร์!

โคแฟคตรวจสอบข้อความทางแอปพลิเคชันไลน์ที่อ้างว่า วุฒิสภาสหรัฐฯ ผ่านสาระสำคัญของร่างข้อมติที่เรียกร้องให้รัฐบาลไทยคุ้มครองและเคารพประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรมและเสรีภาพในการแสดงออก ซึ่งพบว่าเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน

5 ประเด็นข่าวลวงการเมืองช่วงหาเสียงเลือกตั้ง 2566

จากการติดตามตรวจสอบข่าวลวงการเมืองนับตั้งแต่ กกต. ประกาศให้วันที่ 14 พ.ค. 2566 เป็นวันเลือกตั้ง โคแฟคพบว่าเนื้อหาของข่าวลวงในช่วงหาเสียง มีอย่างน้อย 5 รูปแบบ

Back to top