บรรยากาศงานวันตรวจสอบข่าวลวงโลก 2568 (International Fact-Checking Day 2025)สงครามข้อมูล 2025: โจทย์แห่งความจริงในยุควิกฤตความเชื่อมั่น

The Battle for Truth: Reclaiming Information Integrity in the Age of Distrust
วันพุธที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2568 เวลา 10.00 –18.00 น.
ณ ห้องอเนกประสงค์ชั้น 1 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร แยกปทุมวัน กทม.
ในสถานการณ์ที่ข้อมูลข่าวสารมากมายหลั่งไหลในยุคปัญญาประดิษฐ์ ภาคประชาชนและภาคสื่อมวลชนจะมีวิธีการอย่างไร เพื่อแสวงหาข้อเท็จจริง และรับมือกับข้อมูลบิดเบือน ฟังคำแนะนำจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
📌 ชมย้อนหลังงานวันตรวจสอบข่าวลวงโลก 2568 ได้ที่เพจ Facebook CoFact
ช่วงที่ 1 https://www.facebook.com/share/v/1AtUj4kkjC/?mibextid=wwXIfr
ช่วงที่ 2 https://www.facebook.com/share/v/1A6XQwNoYB/?mibextid=wwXIfr
หรือ เฟซบุ๊กไทยพีบีเอส:
• งานช่วงที่ 1: www.facebook.com/share/v/1Mt16EcyuG/
• งานช่วงที่ 2: www.facebook.com/share/v/12JcQCVcsFM/
#FactCheck #factchecking #Cofact #วันตรวจสอบข่าวลวงโลก2568 #InternationalFactCheckingDay2025 #FactFreeFair
บรรยากาศลงทะเบียนเข้าร่วมงาน




พิธีเปิดงาน









เริ่มเปิดงานด้วยการแสดงดนตรีพิณแก้ว โดย วีระพงศ์ ทวีศักดิ์ : นักดนตรีพิณแก้วคนแรกของประเทศไทยและเอเชีย





รศ. ดร.ปรีดา อัครจันทโชติคณบดีคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวต้อนรับ



เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวเปิดงาน




เปิดประเด็นและแนะนำองค์ปาฐกโดย วาเนสซ่า สไตน์เม็ทซ์ ผู้อำนวยการโครงการประจำประเทศไทยและเวียดนามมูลนิธิฟรีดริช เนามัน เพื่อเสรีภาพ



ปาฐกถาพิเศษ ‘สงครามข้อมูล: การทวงคืนความเชื่อมั่นสื่อในยุควิกฤตศรัทธา’ โดย แดเนียล ฟุงค์ หัวหน้าฝ่ายสืบสวนดิจิทัลสำหรับเอเชียแปซิฟิก สำนักข่าว AFP ฮ่องกง


การประกาศความร่วมมือ ‘มอบรางวัลเพื่อส่งเสริมการตรวจสอบข้อมูลของสื่อ’ (Best Fact-Check and Digital Verification Award 2025)
















กิจกรรม “โยคะ“ โดย เพชรี พรหมช่วย ครูสอนโยคะ
















ช่วงเวทีเสวนาเรื่อง ‘สงครามข้อมูล 2025: สื่อจะช่วยสังคมเข้าถึงข้อเท็จจริงได้

















Lightning Talks ‘ยกระดับ รับมือ ข้อมูลบิดเบือน 4.0’ โดย ภาคี Fact Checkers






























ช่วงนำเสนอ พัฒนาการจากยุคโทรเลขถึงยุคเอไอ รับมืออย่างไรให้เท่าทัน โดย วิจิตรา สุริยกุล ณ อยุธยา ผู้อำนวยการกองวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรม สำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ



เปิดตัว แคมเปญบริจาคข้อมูลลวงกับโคแฟค โดย ทีมโคแฟคครีเอเตอร์ และมูลนิธิสถาบันการจัดการวิถีพุทธเพื่อสุขและสันติ และ Scamtify




เดินแบบรณรงค์ Fact – Free – Fair โดย ภาคีเครือข่าย































พูดพร่ำฮัมเพลง ‘ตามหาความจริง’ โดย ศุ บุญเลี้ยง




สรุปงานและประกาศเจตนารมณ์ก้าวต่อไป โดย สุภิญญา กลางณรงค์และภาคี



เซิ้งโคแฟค โดย พิชิตชัย สีจุลลาและหมอลำโคแฟค










