ข่าวจริง

ความจริงจากนักวิชาการ กรณีปลาตายและน้ำทะเลสีเขียวที่ชลบุรี

ภาพปลาตายเกลื่อนชายหาดและน้ำทะเลกลายเป็นสีเขียวในหลายพื้นที่ของจังหวัดชลบุรี ถูกเผยแพร่ในโซเชียลมีเดียในช่วงต้นเดือนกันยายน 2566 กลายเป็นประเด็นที่สร้างความสงสัยและความตระหนกตกใจให้กับประชาชน

สรุป 3 กลุ่มมาตรการเยียวยาโควิด จากการระบาดระลอกใหม่

ที่ประชุมครม.เห็นชอบมาตรการบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและผู้ประกอบธุรกิจ จากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ แยกออกเป็น 3 กลุ่มมาตรการหลัก ทั้งมาตรการที่ทำได้ทันที มาตรการบรรเทาค่าใช้จ่าย และและมาตรการระยะต่อไป ใช้ทั้งเงินกู้และสินเชื่อกว่า 2.55 แสนล้านบาท

สรุป “การบริหารจัดการเตียง” ในสถานการณ์โควิด-19 (สัมภาษณ์พิเศษ)

กองบรรณาธิการเฉพาะกิจ TJA&Cofact สัมภาษณ์ พิเศษ “นายแพทย์ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ สรุป การบริหารจัดการเตียงโควิด-19 และการขยายเตียงICU ผู้ป่วยโควิดอาการหนัก.

นักวิชาการ แนะสื่อ-ประชาชน คัดกรอง “ข้อมูล-ข่าวปลอม” ในวิกฤตโควิด

วงเสวนาวิชาการ ยอมรับสื่อมวลชนยุคโควิด-19 ต้องทำงานท่ามกลางพายุข่าวสาร และ Fake Newsจำนวนมาก การตรวจสอบข้อมูลมีส่วนสำคัญ ต้องผลิตข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบแหล่งที่มาได้ชัด เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ ประชาชนรู้ข้อมูลที่ถูกต้อง ยอมรับ ประชาชนยังศรัทธา สื่อกระแสหลัก เป็นที่พึ่งในยามวิกฤต การนำเสนอข้อมูลข่าวสารต้องมีคุณภาพ

รู้ทัน เบอร์แปลก เสนอ ทำประกันอุบัติเหตุ ระวัง ล้วงข้อมูลส่วนตัว

เฝ้าระวังเบอร์แปลก โทรขายประกันหลอกถามข้อมูลส่วนบุคคล คปภ. ยอมรับ ต้องตรวจสอบให้ดี รับที่ผ่านมาทุกบริษัทประกันจะไม่มีนโยบายถามข้อมูลส่วนบุคคลประชาชน และจะแจ้งข้อมูลตัวแทนขายให้ทราบเสมอ เตือนหากใครเจอถามข้อมูล ให้รีบแจ้งด่วน หวั่นนำข้อมูลไปใช้ในทางมิชอบ

ไขข้อข้องใจ “เราชนะ” ปรับกรอบโครงการ ไม่เปิดลงทะเบียนเพิ่ม

ภายหลังจากเกิดความสับสนถึงการดำเนินโครงการ “เราชนะ” หรือโครงการเยียวยาผู้ที่ได้รับจากการระบาดของไวรัสโควิด-19 ผ่านการจัดสรรเงินให้ผู้ได้รับสิทธิ์คนละ 7,000 บาท ซึ่งล่าสุดในการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 20 เม..ที่ผ่านมา ได้เห็นชอบให้ขยายจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการอีก 2.4 ล้านคน  พร้อมกับขยายวงเงิน เพิ่มขึ้น 3,042 ล้านบาท จนทำให้เกิดความเข้าใจว่า การขยายรายละเอียดโครงการครั้งนี้ รัฐบาลจะเปิดให้คนเข้ามาลงทะเบียนรับสิทธิ์ใหม่ใช่หรือไม่ 

เคลียร์ข้อสงสัย “สายด่วน 1668” ภารกิจบริหารจัดการเตียงโควิด-19

TJA&Cofact ตรวจสอบข้อมูลภายในศูนย์ประสานงานของสายด่วน 1668 กรมการแพทย์ พบว่า จะมีเจ้าหน้าที่ สหสาขา ของกรมการแพทย์ และแพทย์ชำนาญการประจำ ที่ผลัดเปลี่ยน หมุนเวียน มาเป็นอาสาสมัครให้บริการประชาชน ซึ่งแต่ละคนล้วนมีหน้าที่ประจำจากงานหลัก ซึ่งการทำงานในส่วนนี้จะเป็นทีมที่3 ทำหน้าที่ติดตามผู้ติดเชื้อที่ถูกแบ่งตามระดับอาการจากการติดเชื้อโควิด-19

เปิดข้อเท็จจริง “เงินเดือน” ผู้บริหารท้องถิ่น หลังถูกแชร์มา 10 ปี

จากข้อความที่ถูกเผยแพร่ในสังคมออนไลน์ ถึงกรณีกระทรวงมหาดไทยได้ประชุมและมีการอนุมัติเงินเดือนเพิ่มขึ้นอีก 20%ให้กับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) สมาชิกสภาเขต (ส.ข.) และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ซึ่งเป็นข้อความที่ถูกแชร์ทาตั้งแต่ปี 2554 ในสมัยนายชวรัตน์ ชาญวีรกูล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

Back to top